Untitled Document
ข้อมูลทั่วไป
โครงสร้างองค์กร
อำนาจหน้าที่
ข้อมูลการติดต่อ
E -Service
ระบบฐานข้อมูลการบริหารจัดการ (Back office)
ร้องเรียนทุจริต
ข้อมูลบุคลากร
  ฝ่ายบริหาร
  ฝ่ายนิติบัญญัติ
  ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการ
  สำนักปลัด
  กองคลัง
  กองช่าง
  กองการศึกษา
  หน่วยตรวจสอบภายใน
   
งานการเงิน - การคลัง
งานจัดเก็บรายได้
งานการ-เจ้าหน้าที่
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ข้อญัญญัติ เทศบัญญัติ
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาเทศบาลตำบลท่าสาย
รายงานผลตามแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง (คตง.)
รายงานการประชุมคณะผู้บริหารเทศบาลตำบลท่าสาย
แบบฟอร์มคำร้องทั่วไป
แผนการดำเนินงาน
แผนพัฒนาท้องถิ่น
แผนปฏิบัติการจัดซื้อ-จัดจ้าง (คตง.)
การกำหนดสมัยประชุม, เรียกประชุม และนัดประชุมสภาฯ (สมัยสามัญ)
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลท่าสาย
รายงานควบคุมภายใน
แผนปฎิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
แผนอัตรากำลังพนักงานเทศบาล 3 ปี
แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี
แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี (E-GP)
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
งานการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผลการจัดซื้อ-จัดจ้าง (สขร.1)
สรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง(แบบ สขร.1)
ประกาศรายละเอียดข้อมูลราคากลาง
ประกาศผู้ชนะการเสนอราคาจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับคัดเลือก (รายไตรมาส)
ประกาศอายุการใช้งานสินทรัพย์และอัตราค่าเสื่อมสินทรัพย์
ประกาศเผยแพร่สาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงที่ได้ลงนามแล้ว
งานสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม
ศูนย์ช่วยเหลือประชาชน เทศบาลตำบลท่าสาย
ยื่่นคำร้องขอต่อ หรือขึ้นทะเบียนรายใหม่ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
งานพัฒนาชุมชน
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร
ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ และพันธกิจของหน่วยงาน
คู่มือปฏิบัติการรับเรื่องร้องเรียน-ร้องทุกข์
อพ.สธ.ตำบลท่าสาย
โครงการป่าในเมือง (ตำบลท่าสาย)
มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต
ประกาศเทศบาลตำบลท่าสาย
รายงานการประชุม
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต
งานส่งเสริมด้านกีฬา
ช่องทางร้องเรียนในการบริหารทรัพยากรบุคคล
งานบริหารและจัดการความเสี่ยง
ระบบสารสนเทศมาตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในองค์กร
งานเลือกตั้ง
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
ita
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
การส่งเสริมความโปร่งใส
รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
ระเบียบสภาเทศบาลตำบลท่าสาย
ข้อมูลสถิติการให้บริการประชาชน
ประกาศเจตนารมณ์
แบบคำขอรับบริการจัดเก็บขยะมูลฝอย
ผลการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน
แผนปฏิบัติการป้องกันและลดอุบุติเหตุทางถนน
งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลท่าสาย
แผนปฏิบัติการลดใช้พลังงานไฟฟ้า และแผนปฏิบัติการลดใช้น้ำมัน
   
วารสาร
สินค้า OTOP
แหล่งท่องเที่ยว
ภาพกิจกรรม / ผลงาน
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวประกวดราคา
ช่องทางการร้องเรียน
 
Editor' Talk
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
สถิติเว็บไซต์  
จำนวนผู้เยี่ยมชม 233644 ครั้ง
ออนไลน์ขณะนี้ 5 ไอพี
 
ประกาศเมื่อ 24 มิถุนายน 2017 เวลา 16:54:54 เปิดอ่านทั้งหมด 1397 ครั้ง
 
จดหมายข่าว เรื่องวิธีการรับมือต่อภัยพิบัติ
 

 

วิธีการรับมือต่อภัยพิบัติ

ภัยพิบัติ  หมายถึง สิ่งที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ที่เข้าไปคุกคามโดยการทำลายป่าไม้หรือแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ ทำให้ธรรมชาติเสียสมดุลจนเกิดภัยพิบัติต่างๆ   ภัยธรรมชาติมีมากมาย    เช่น

 

วาตภัย

คือภัยที่เกิดจากพายุ   พายุมีหลายรูปแบบ คือ พายุแถบเส้นที่มีแหล่งกำเนิดในมหาสมุทร  พายุหมุนที่มีแหล่งกำเนิดบนบก   พายุฟ้าคะนอง

อุทกภัย

คือภัยที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีน้ำเป็นสาเหตุ  อาจจะเป็นน้ำท่วม  น้ำป่า  หรืออื่นๆ

แผ่นดินไหว

เป็นปรากฏการณ์การสั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง ที่อยู่อาศัย สิ่งมีชีวิต ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติ โดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทำของมนุษย์ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ

อัคคีภัย

ภัยอันตรายอันเกิดจากไฟที่ขาดการควบคุมดูแล ทำให้เกิดการติดต่อลุกลามไปตามบริเวณที่มีเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหม้ต่อเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากขึ้นถ้าการลุกไหม้ที่มีเชื้อเพลิงหนุนเนื่อง

 

วิธีป้องกันภัย

วิธีป้องกันวาตภัย

• ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยาสม่ำเสมอ

• สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้ายแก่กรมอุตุนิยมวิทยา

• ซ่อมแซม อาคารให้แข็งแรง เตรียมป้องกันภัยให้สัตว์เลี้ยงและพืชผลการเกษตร

• ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมพร้อมรับมือ และวางแผนอพยพหากจำเป็น

• เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋าหิ้วติดตามข่าวสาร

        • เตรียมพร้อมอพยพเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพ

 

วิธีป้องกันภัยจากอุทกภัย

• ควรติดตามฟังข่าวอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยาสม่ำเสมอ เมื่อใดที่กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนให้อพยพ ทั้งคนและสัตว์เลี้ยงควรรีบอพยพไปอยู่ในที่สูง อาคารที่มั่นคงแข็งแรง

• ถ้าอยู่ที่ราบให้ระมัดระวังน้ำป่าหลาก จากภูเขาที่ราบสูงลงมา กระแสน้ำจะรวดเร็วมาก ควรสังเกตเมื่อมีฝนตกหนักติดต่อกันบนภูเขาหลาย ๆ วัน ให้เตรียมตัวอพยพขนของไว้ที่สูง

• ถ้าอยู่ริมน้ำให้เอาเรือหลบเข้าฝั่งไว้ในที่จะใช้งานได้ เมื่อเกิดน้ำท่วม เพื่อการคมนาคม ควรมีการวางแผนอพยพว่าจะไปอยู่ที่ใด พบกันที่ไหน อย่างไร

• กระแสน้ำหลากจะทำลายวัสดุก่อสร้าง เส้นทางคมนาคม ต้นไม้ และพืชไร่ ต้องระวังกระแสน้ำพัดพาไป อย่าขับรถยนต์ฝ่าลงไปในกระแสน้ำหลาก แม้บนถนนก็ตาม อย่าลงเล่นน้ำ อาจจะประสพอุบัติภัยอื่น ๆ อีกได้

• หลังจากน้ำท่วม จะเกิดโรคระบาดในระบบทางเดินอาหารทั้งคนและสัตว์ ให้ระวังน้ำบริโภค โดยต้มให้เดือดเสียก่อน

วิธีป้องกันภัยจากแผ่นดินไหว

ก่อนเกิดแผ่นดินไหว

  • เตรียมเครื่องอุปโภคบริโภคที่จำเป็น เช่น ถ่านไฟฉาย ไฟฉาย อุปกรณ์ดับเพลิง น้ำดื่ม น้ำใช้ อาหารแห้ง ไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับหรือกรณีฉุกเฉินอื่น ๆ
  • จัดหาเครื่องรับวิทยุ ที่ใช้ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ สำหรับเปิดฟังข่าวสารคำเตือน คำแนะนำและสถานการณ์ต่าง ๆ
  • เตรียมอุปกรณ์นิรภัย สำหรับการช่วยชีวิต
  • เตรียมยารักษาโรค และเวชภัณฑ์ให้พร้อมที่จะใช้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
  • จัดให้มีการศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรืออันตรายให้พ้นขีดอันตรายก่อนที่จะถึงมือแพทย์
  • จำตำแหน่งของวาล์ว เปิด-ปิดน้ำ ตำแหน่งของสะพานไฟฟ้า เพื่อตัดตอนการส่งน้ำ และไฟฟ้า
  • ยึดเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้สอย ภายในบ้าน ที่ทำงาน และในสถานศึกษาให้ความมั่นคงแน่นหนา ไม่โยกเยกโคลงแคลงไปทำความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
  • ไม่ควรวางสิ่งของที่มีน้ำหนักมาก ๆ ไว้ในที่สูง เพราะอาจร่วงหล่นมาทำความเสียหายหรือเป็นอันตรายได้
  • เตรียมการอพยพเคลื่อนย้าย หากถึงเวลาที่จะต้องอพยพ
  • วางแผนป้องกันภัยสำหรับครอบครัว ที่ทำงาน และสถานที่ศึกษา มีการชี้แจงบทบาทที่สมาชิกแต่ละบุคคลจะต้องปฏิบัติ มีการฝึกซ้อมแผนที่จัดทำไว้ เพื่อเพิ่มลักษณะและความคล่องตัวในการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน

ขณะเกิดแผ่นดินไหว

  • ตั้งสติ อยู่ในที่ที่แข็งแรงปลอดภัย ห่างจากประตู หน้าต่าง สายไฟฟ้า เป็นต้น
  • ปฏิบัติตามคำแนะนำ ข้อควรปฏิบัติของทางราชการอย่างเคร่งครัด ไม่ตื่นตระหนกจนเกินไป
  • ไม่ควรทำให้เกิดประกายไฟ เพราะหากมีการรั่วซึมของแก๊สหรือวัตถุไวไฟ อาจเกิดภัยพิบัติจากไฟไหม้ ไฟลวก ซ้ำซ้อนกับแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นอีก
  • เปิดวิทยุรับฟังสถานการณ์ คำแนะนำคำเตือนต่าง ๆ จากทางราชการอย่างต่อเนื่อง
  • ไม่ควรใช้ลิฟต์ เพราะหากไฟฟ้าดับอาจมีอันตรายจากการติดอยู่ภายใต้ลิฟต์
  • มุดเข้าไปนอนใต้เตียงหรือตั่ง อย่าอยู่ใต้คานหรือที่ที่มีน้ำหนักมาก
  • อยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันอันตรายจากสิ่งปรักหักพังร่วงหล่นลงมา
  • อยู่ห่างจากสิ่งที่ไม่มั่นคงแข็งแรง
  • ให้รีบออกจากอาคารเมื่อมีการสั่งการจากผู้ที่ควบคุมแผนป้องกันภัย หรือผู้ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้
  • หากอยู่ในรถ ให้หยุดรถจนกว่าแผ่นดินจะหยุดไหวหรือสั่นสะเทือนหลังเกิดแผ่นดินไหว
  • ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และการทำการปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ แล้วรีบนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วน เพื่อให้แพทย์ได้ทำการรักษาต่อไป
  • ตรวจเช็คระบบน้ำ ไฟฟ้า หากมีการรั่วซึมหรือชำรุดเสียหาย ให้ปิดวาล์ว เพื่อป้องกันน้ำท่วมเอ่อ ยกสะพานไฟฟ้า เพื่อป้องกันไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าดูด หรือไฟฟ้าช็อต
  • ตรวจเช็คระบบแก๊ส โดยวิธีการดมกลิ่นเท่านั้น หากพบว่ามีการรั่วซึมของแก๊ส (มีกลิ่น) ให้เปิดประตูหน้าต่าง แล้วออกจากอาคาร แจ้งเจ้าหน้าที่ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนผู้ที่รับผิดชอบได้ทราบในโอกาสต่อไป
  • เปิดฟังข่าวสารและปฏิบัติตามคำแนะนำ จากทางราชการโดยตลอด
  • ไม่ใช้โทรศัพท์โดยไม่จำเป็น
  • อย่ากดน้ำล้างส้วม จนกว่าจะมีการตรวจเช็คระบบท่อเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพราะอาจเกิดการแตกหักของท่อในส้วม ทำให้น้ำท่วมเอ่อหรือส่งกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์
  • ออกจากอาคารที่ชำรุดโดยด่วน เพราะอาจเกิดการพังทลายลงมา
  • สวมรองเท้ายางเพื่อป้องกันสิ่งปรักหักพัง เศษแก้ว เศษกระเบื้อง
  • รวมพล ณ ที่หมายที่ได้ตกลงนัดหมายกันไว้ และตรวจนับจำนวนสมาชิกว่าอยู่ครบหรือไม่
  • ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการเข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณที่ได้รับความเสียหาย และผู้ไม่มีหน้าที่หรือไม่เกี่ยวข้อง ไม่ควรเข้าไปในบริเวณนั้น ๆ หากไม่ได้รับการอนุญาต
  • อย่าออกจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นใต้น้ำซัดฝั่งได้ แม้ว่าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินจะสิ้นสุดลงแล้วก็ตาม

วิธีป้องกันภัยจากอัคคีภัย

• การจัดระเบียบเรียบร้อยดี หมายถึง การป้องกันการติดต่อลุกลาม โดยจัดระเบียบในการเก็บรักษา สารสมบัติที่น่าจะเกิดอัคคีภัยได้ง่ายให้ถูกต้องตามลักษณะการเก็บรักษา สารสมบัตินั้น ๆ ทั้งภายในและภายนอกอาคารให้เรียบร้อย โดยไม่สะสมเชื้อเพลิงไว้เกินประมาณที่กำหนด เพราะเมื่อเกิดเพลิงไหม้ย่อมทำให้เกิดการติดต่อลุกลามขึ้นได้

• การตรวจตราซ่อมบำรุงดี หมายถึง การกำจัดสาเหตุในการกระจายตัวของเชื้อเพลิงและความร้อน เช่น การตรวจตราการไหลรั่วของเชื้อเพลิงต่าง ๆ พร้อมทั้งการควบคุมดูแลมิให้เกิดการกระจายตัวของความร้อนของเครื่องทำความร้อน

• การมีระเบียบวินัยดี หมายถึง การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย เช่น สถานที่ใดที่ให้มีไว้ซึ่งเครื่องดับเพลิง

• ความร่วมมือที่ดี หมายถึง การศึกษาหาความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและระงับอัคคีภัย โดยการฝึกการใช้อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในการดับเพลิง ตลอดจนการฝึกซ้อมในการปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินเมื่อเกิดเพลิงไหม้



ข่าวประชาสัมพันธ์อื่นๆ

เชิญร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของพระราชบัญญัติภาษีที่ดิน
     
   
ประชาสัมพันธ์โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เฉลิมพระเกียรติพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู
      เทศบาลตำบลท่าสาย ขอเชิญชวนร่วมทำบุญเป็นเจ้าภาพพิะีบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 ระหว่างวันที่ 2 เมษายน - 6 พฤษภาคม 2567
   
ร้อนนี้ระวัง 5 โรคที่มาจากอาหารและน้ำ
      ร้อนนี้ระวัง 5 โรคที่มาจากอาหารและน้ำ หมั่นดูแลร่างกายและสุขภาพให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อลดโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ที่อาจเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน
   
ขอเชิญชวนประชาชนร่วมลงนามถวายพระพร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ
      ขอเชิญชวนประชาชนร่วมลงนามถวายพระพร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้าฯ
   
โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
      โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567
   

เทศบาลตำบลท่าสาย

377 หมู่ 5 ถนนเชียงราย - เทิง ตำบลท่าสาย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
โทร 053-773951 , 083-2045999 อีเมล์ : tumboltasai@gmail.com

เจ็บป่วยฉุกเฉิน 1669 เหตุด่วน เหตุสาธารณภัย แจ้ง 084-8060505


CopyRight@ 2023-2024 โดย เทศบาลตำบลท่าสาย . ออกแบบและพัฒนาโดย : เชียงรายเอ็นเทอร์ซอฟต์